ReadyPlanet.com
dot
dot
รายการสินค้า
dot
bulletสินค้าใหม่ มาแล้ว ขายดีมากๆๆ032-409821
bulletชุดจานดาวเทียม
bulletLNBF
bulletโทรทัศน์ LED TV ,Smart TV
bulletเครื่องซักผ้า
bulletตู้เย็น
bulletโปรโมชั่น แอร์
bulletการทำ Duo LNBF
bulletระบบทีวีรวม smatv
bulletอุปกรณ์รับดาวเทียมอื่นๆ
bulletถาม-ตอบ
bulletชุดงานระบบทีวีรวม-ทีวีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม สำหรับโรงเรียน
bulletmemory of my dog
dot
เวบลิ้งค์ จ.เพชรบุรี
dot
bulletข้อมูลท่องเที่ยว เพชรบุรี
bulletท่องเที่ยว จ.เพชรบุรี
bulletความถี่ดาวเทียม Lyngsat.com
dot
กล้องถ้ายวีดีโอ JVC ราคาพิเศษ
dot
bulletราคากล้อง JVC
dot
สินค้าแนะนำ จาน C band fix thaicom ดูทีวีไทย
dot
dot
สินค้าแนะนำ จาน Ku band
dot
dot
จานดาวเทียมแบบ Move
dot
bulletจาน 7.5 ex ไดน่าแซท C/Ku 400 ช่อง ราคา 15,900 บาท
bulletจานทึบ infosat 5.5 move c/ku ราคา 14,500 บาท


ระบบดิจิตอล ดูได้มากกว่า 200 ช่อง แยกจุดอิสระมากถึง 12 จุด
D2R Multisatellite MultiRooms
งานระบบSMATV ทีวีดาวเทียมในโรงแรม อพาร์ตเม้นท์ คอนโด รีสอร์ท
เวบบอร์ดใหม่ เล่าเรื่องเมืองเพชร
ขอแนะนำ อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี แดนเกิด
ประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม เมืองเพชร


ข้อมูลลับ ของการส่ง ระบบ Ku band บนดาวเทียมไทยคม article

     ข้อมูลลับ ของการส่ง ระบบ Ku band บนดาวเทียมไทยคม

    

หลักในการออกแบบระบบ DBS-TV [Direct Broadcasting via Satellite-TV]

1.      ต้องสามารถประกันการทำงานของระบบให้มีค่า C/N ต่ำสุดเกิดขึ้นในช่วงเปอร์เซ็นต์ของเวลา

ที่กำหนดไว้  เช่น ระบบสื่อสารดาวเทียมระบบหนึ่งถูกออกแบบให้มีค่าความเชื่อถือได้ ( Realiability )

เท่ากับ 99.5 – 99.99 % นั้น 

           หมายความว่า  C/N  สามารถที่จะมีค่าต่ำกว่า  C/N ต่ำสุดที่กำหนดไว้เพียง 0.01-0.5 % ในช่วง

เวลาทั้งหมด

2.      สามารถส่งผ่านข้อมูล ที่ทำให้ผลกำไรสูงสุด โดยมีต้นทุนต่ำสุด

                  แต่ ในระบบ Ku band  ที่ใช้ส่งในระบบ DBS-TV นี้ จะไม่สามารถออกแบบให้มีความ

เชื่อถือได้ 99.99% เนื่องจากผลกระทบ จาก rain attenuation มีมากกว่า 10 – 20 dB  

                ช่วงเวลา Outage ที่นิยมออกแบบสำหรับระบบ Ku band ปกติ มีค่าประมาณ 0.1 – 0.5 %

ในแต่ละปี หรือประมาณ 8- 40 ชั่วโมง

                

 

     Outage คือ เปอร์เซ็นต์ ของช่วงเวลาที่ C/N มีค่าต่ำกว่า C/N ต่ำสุด ของระบบที่ออกแบบไว้

    Worst month เป็นการเรียกเปอร์เซ็นต์ ช่วงเวลา ที่เกิด outage ในหน่วยเดือน

     Rain Attenuation  เป็นการลดทอนอันเนื่องมาจากฝน ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น และ

เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา และแตกต่างกันในแต่ละสถานที่

                 

         ภาค 9   มาว่า กันเรื่อง จานดาวเทียม แบบ ออฟเซ็ท ดีกว่า

จานดาวเทียม แบบ ออฟเซ็ท พาราโบลอยด์ ถ้าเราไปดู ที่ specification ของ จานแบบนี้ มันมีค่าต่างๆ

ที่แตกต่างจาก จานแบบ พาราโบล่าร์ Center focus   นั่นคือ  มุม ออฟเซ็ท ( Offset angle ) ,เส้นผ่าศูนย์

กลางด้านสูง ( Diameter long Axis ) และ เส้นผ่าศูนย์กลางด้านกว้าง ( Diameter short axis )

และ  ระยะปรับของมุมก้มเงย ( Elevation angle range )

   ค่าที่สำคัญ ของ จาน ออฟเซ็ท คือ  Offset angle     มาดูรูป ของ ท่าน DG มาอีกที

                     

 

             ถ้า จาน offset  ที่มีค่า offset angle  สมมติ ว่าเป็น 22 องศา   ถ้าเราปรับระนาบของจานออฟเซ็ทใน

แนวตั้งฉากกับพื้นโลก ( แนว Vertical )  Lnbf ก็จะอยู่ในตำแหน่งที่ต่ำกว่าระนาบขอบล่างของจาน

ลำคลื่น ที่สะท้อนออกจาก จาน  จะมีค่า เท่ากับ 22 องศา ( Elevation angle 22 degree )

           ดังนั้น ถ้า เราต้องการ ใช้ จาน ออฟเซ็ท  ใบนี้ รับ สัญญาณดาวเทียม ที่มีมุมก้มเงย

( Elevation angle ) ต่ำกว่า  22 องศา หน้าจานก็จะไปข้างหน้า และก้มลง   การที่ใช้ไปรับดาวเทียม

ที่มีมุมก้มเงยต่ำๆ  ก็จะทำให้การปรับทำไม่ได้ เนื่องจากขอบล่างของจาน และ ตัว feed support

              

        

           ดังนั้น ถ้า เราต้องใช้ จานออฟเซ็ท ที่มีค่า  offset angle 22 องศา ไปรับสัญญาณดาวเทียมที่มี

มุมก้มเงยต่ำ   เราต้องกลับหน้าจานใหม่ ( upside down ) และ ตำแหน่งของตัวฟีด จะอยู่ด้านบนแทน

ทำให้เรา สามารถปรับมุมก้มเงย ได้ถึงมุมก้มเงยที่เป็น 0 ได้

                   

   

           

  ซึ่ง ตามปกติ  จาน ku 75 cm. ของ ทรู วิชั่นส์  จะมีค่า offset angle ประมาณ  30-37 องศา

และ รับสัญญาณ ดาวเทียม Ku band ดาวเทียม ไทยคม 5 ที่มีมุม ก้มเงย ประมาณ 60 องศา

ได้อยู่แล้ว

              

 

 

 

           เราจะเห็น มุมเอียงด้านหลังจาน ( backward tilt ) เท่ากับ 41 องศา

ทำให้ สามารถ รับสัญญาณดาวเทียม ที่ลงมา (หรือ ขึ้นไป)  ที่มีมุมก้มเงย 63 องศา สะท้อนหน้าจานเข้า

สู่ฟีดฮอร์นพอดี     

            ดังนั้น ถ้ามุมเอียงหลังจาน เท่ากับ 68 องศา    มุม ก้มเงย ( Elevation angle ) จะเท่ากับ 90 องศา

 ดังนั้น เวลาช่างติดตั้ง จาน Ku  ถ้าเราเอา ตัววัดมุม แปะ ที่ด้านหลัง ของจาน  ขอให้ท่านเข้าใจว่า

ท่านกำลัง วัดค่ามุม ของมุมเอียงด้านหลังของจาน ( backward tilt )  ไม่ใช่มุมก้มเงย ของดาวเทียมที่เราต้องการรับ  แต่ ค่าเสกล องศา ที่ตัวคอเมานท์ ของจาน อันนั้น คือ ค่ามุมก้มเงย ( Elevation angle) ที่ผู้ผลิต

เทียบค่าองศา ไว้ให้แล้ว

          ดังนั้น ถ้า ช่างติดตั้ง ต้องการวัดค่ามุมก้มเงย ( Elevation angle ) ให้เอาแผ่นไม้เรียบ ทาบที่ตัว

Lnbf (ใช้ผู้ช่วย ช่วยจับไว้ก็ได้ ) และ วางตัววัดมุม ตรงนั้น และ ปรับมุมก้มเงย  ค่าที่อ่านได้ จากตัววัดมุม

ตรงนั้น แหละครับ  คือ มุมก้มเงย ของดาวเทียม

         เรา รู้มาแล้วว่า  จาน offset นี้ มีประสิทธิภาพการรับ สูง เนื่องจาก ไม่มีส่วนหนึ่งส่วนใดของ

Lnbf และ feed support ไปบดบังหน้าจาน    ดังนั้น เวลาที่เรา จะดูสถานที่ ที่จะติดตั้ง จานแบบนี้

ว่า ด้านหน้า ที่รับสัญญาณ มี สิ่งกีดขวาง บังสัญญาณ หรือไม่

       ง่าย นิดเดียว  ให้ไปยืน ที่ด้านหลัง ของจาน  และ เล็ง จากขอบล่างของจาน ไปยัง Lnbf 

แนวนั้น ล่ะครับ จะเป็นแนวลำคลื่นสัญญาณดาวเทียมล่างสุด ที่จะตกกระทบหน้า จาน

ในรูป  จะเป็น เส้นสีดำ ที่ใกล้ กับ Lnbf นั่นล่ะครับ

    

               

 



ชื่อ
เบอร์โทรศัพท์
อีเมล
หัวข้อ
รายละเอียด




บทความ/vcd ติดตั้งจานดาวเทียม/หนังสือ

ขั้นตอนการแลกคูปองดิจิตอลทีวี article
ทีวีดิจิตอล DVB-T2 article
ศึกลูกหนังดาวเทียม:มองผ่านเลนส์คม โดย... แคน สาริกา
cable modem article
เทคโนโลยี่ เคเบิล้โมเด็ม HFC Hybrid Fiber Coax article
ว่ากันด้วยเรื่อง Lnbf Ku band อยากรู้กันมั้ยครับ article
ข้อเปรียบเทียบระหว่างจานดาวเทียม พาราโบลิกแบบ center focus แบบลึกกับแบบตื้น
ระบบทีวีโรงแรม SMATV article
สกาล่าร์ ริง วงแหวนซับคลื่น มีไว้ทำไมเนี่ย......... article
สาระน่ารู้เกี่ยวกับการรับสัญญาณดาวเทียม
ระบบการรับสัญญาณโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม article
แจกฟรี แผ่น DVD การติดตั้งจานดาวเทียม D1.3R article
เรื่องที่พูดกันอย่างไม่รู้จบ article
ระบบการเข้ารหัส NDS Videoguard article
สัญญาณรบกวน จาก Microwave link article
หนังสือ คัมภีร์ดาวเทียม ทีวีโรงแรม SMATV เล่มละ 350 บาท article
การแบ่งประเภทจานดาวเทียม article
โครงการบริจาด จานดาวเทียมเพื่อการศึกษา ให้โรงเรียนที่ขาดแคลนใน จ.เพชรบุรี
แผ่น VCD การติดตั้งจานดาวเทียม article
บรรยากาศงานสัมมนา จานส้ม โรงแรมรอยัลไดมอน จ.เพฃรบุรี วันจันทร์ที่ 27 กพ.55 article
สัมมนางานระบบทีวีรวม MTEX สำนักงานใหญ่ PSI รามคำแหง 159 วันอาทิตย์ที่ 26 กรกฎาคม 52 ตอนที่ 2 article
การสัมมนาระบบทีวีรวม MTX อาคาร PSI รามคำแหง 159 วันที่26กรกฎาคม52 article
การทำดูโอ , ไทรโอ Duo ,Trio article
ช่องรายการที่น่าสนใจ จากจานดาวเทียมแบบ MOVE article
อุปกรณ์เพื่อเสริมการรับดาวเทียมให้กับชุดสามารถ dth article
การติดตั้ง combo set Nss6Ku เพื่อรับ astv กับจานดาวเทียม c band article



[1]

ความคิดเห็นที่ 1 (135498)

เท่าที่ได้เข้าดู และอ่านข้อความต่าง ๆ ของบริษัทนี้ รู้สึกว่ามีประโยชน์มากมายครับ 

ผู้แสดงความคิดเห็น ก่อศักดิ รวงทองวนา (kuychiangmai-at-hotmail-dot-com)วันที่ตอบ 2010-08-01 22:41:55


ความคิดเห็นที่ 2 (135549)
ได้รู้เกี่ยวกับดาวเทียมไทยคม
ผู้แสดงความคิดเห็น ปอ วันที่ตอบ 2010-08-06 11:24:08


ความคิดเห็นที่ 3 (141382)
หนังสือที่ใช้อะไรครับ
ผู้แสดงความคิดเห็น นวพล วันที่ตอบ 2012-04-19 19:13:17



[1]


แสดงความคิดเห็น
ความคิดเห็น *
ผู้แสดงความคิดเห็น  *
อีเมล 
ไม่ต้องการให้แสดงอีเมล



Copyright © 2010 All Rights Reserved.
แสงทองโทรทัศน์ จำหน่ายเครื่องใช้ไฟฟ้า และจานดาวเทียม จ.เพชรบุรี โทรศัพท์ 032-437117 , 032-461453 , 085-9746-444
หจก.แสงทองโทรทัศน์ ตั้งอยู่ที่ 321 ต.ท่ายาง อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี ขายและติดตั้งจานดาวเทียม ทุกระบบ พร้อมบริการหลังการขาย ขายทั้งปลีกและขายส่ง ให้บริการปรึกษาและสื่อ vcd ติดตั้งจานดาวเทียม ครบวงจร โทรศัพท์ 032 -437117 ,032-461453 ,032-431082 โทรสาร 032- 461082 สอบถามรายละเอียดหรือปรึกษา เรื่องจานดาวเทียม ติดต่อ คุณปรีชา 081-4388741 Photobucket